ค่าคาดการณ์อัตราการว่างงานของประเทศไทย

คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการเกี่ยวกับการประเมินส่วนราชการตามมาตรฐานการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ มีมติเห็นชอบตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ของส่วนราชการ โดยสำนักงานสถิติแห่งชาติและสำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน รับผิดชอบตัวชี้วัดองค์ประกอบที่ 2 การประเมินศักยภาพในการดำเนินงาน (Potential Base) ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จในการจัดทำชุดข้อมูลตัวชี้วัดสากล : IMD ชุดข้อมูลการคาดการณ์อัตราการว่างงาน (Forecast Unemployment)

ข้อมูลและทรัพยากร

ข้อมูลเพิ่มเติม

ฟิลด์ ค่า
* ประเภทชุดข้อมูล ข้อมูลสถิติ
ยินยอมให้นำชื่อชุดข้อมูลไปใช้ที่ GD-Catalog ยินยอม
* ชื่อฝ่ายงานสำหรับติดต่อ กลุ่มวิเคราะห์และพัฒนาสารสนเทศด้านสังคม กองสถิติพยากรณ์
* อีเมลสำหรับติดต่อ social.indicator.tnso@gmail.com
* วัตถุประสงค์
  • เพื่อการให้บริการประชาชน
  • พันธกิจหน่วยงาน
  • ดัชนี/ตัวชี้วัดระดับนานาชาติ
* หน่วยความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล ปี
ค่าความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล (ความถี่น้อยที่สุด) 1
* ขอบเขตเชิงภูมิศาสตร์หรือเชิงพื้นที่ ประเทศ
* แหล่งที่มา โครงการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร
* รูปแบบการเก็บข้อมูล
  • CSV
  • PDF
* หมวดหมู่ข้อมูลตามธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ ข้อมูลสาธารณะ
* สัญญาอนุญาตให้ใช้ข้อมูล Creative Commons Attributions
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล ไม่มี
URL https://www.nso.go.th/public/e-book/Analytical-Reports/Report_Unemployed_2566/
ภาษาที่ใช้ ไทย
วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด 19 มีนาคม 2567
วันที่กำหนดเผยแพร่ข้อมูล 19 มีนาคม 2567
ปีข้อมูลที่เริ่มต้นจัดทำ (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) 2567
ปีข้อมูลล่าสุดที่เผยแพร่ (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) 2567
การจัดจำแนก (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) ไม่มี
หน่วยวัด (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) ร้อยละ
หน่วยตัวคูณ (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) หน่วย
วิธีการคำนวณ (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) วิเคราะห์และพยากรณ์อัตราการว่างงาน โดยใช้ตัวแบบ ARIMAX ที่ประกอบด้วยตัวแปรผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) และตัวแปรหุ่น (Dummy Variable) การเกิดสถานการณ์โควิด-19 เป็นตัวแปรอธิบาย
มาตรฐานการจัดทำข้อมูล (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) ไม่มี
สถิติทางการ ไม่ใช่
สร้างโดย Gravatar demo-admin
สร้างในระบบเมื่อ 14 มิถุนายน 2567
ปรับปรุงครั้งล่าสุดในระบบเมื่อ 25 มิถุนายน 2567